.
.
โรคกรดไหลย้อนสามารถแบ่งระยะของโรคหลักๆ ได้ 3 ระยะอันตราย ได้แก่
.
.
1/
ที่มักเรียกกันว่าระยะโรคกระเพาะอาหาร
ซึ่งมักจะมีอาการจุกเสียดแน่นท้อง มีปริมาณลมในท้องจำนวนมาก
อาหารไม่ย่อยและมีอาการท้องอืด
.
ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นแรกที่หลายคนมักจะแยกไม่ออก
ว่าตนเองกำลังเผชิญกับโรคกระเพาะอาหาร
หรือเป็นสัญญาณที่บ่งบอกว่าโรคกรดไหลย้อนกำลังเข้ามาทักทายอยู่
.
.
2/
#ระยะที่สอง เป็นระยะที่มีขยะตกค้างและมีปริมาณของจุลินทรีย์ไม่ดี
ค้างอยู่ในลำไส้เป็นจำนวนมากจนกลายเป็นการสะสมหมักหมม
.
ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของการย่อยอาหารที่ไม่สมบูรณ์
และไม่มีประสิทธิภาพเป็นระยะเวลานาน
.
ส่งผลให้มีกลิ่นที่รุนแรงออกมาไม่ว่าจะเป็นกลิ่นปาก
หรืออาการท้องผูกรุนแรงที่ควบคู่กับอาการผายลมเหม็น
ซึ่งถือว่าเป็นระยะที่เริ่มทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น
.
.
3/
หายใจเหนื่อยหอบ มีอาหารหิวบ่อยแต่รับประทานอาหารไม่ลง
มีลมตีย้อนขึ้นมาเป็นประจำ พร้อมกับอาการแสบร้อนที่กลางอก
อ่อนเพลียและขับถ่ายเริ่มเหลวขึ้นไม่เป็นก้อน จากสภาวะสารอาหารในเลือดเหลือน้อยจนเซลล์ภายในร่างกายขาดสารอาหารนั่นเอง
.
.
สภาวะกรดไหลย้อนจากกระเพาะอาหารเข้ามาที่หลอดอาหารนั้น
ถือว่าเป็นอาการที่มีโอกาสเกิดได้ง่ายมาก
ไม่ว่าจะมาจากปัจจัยในเรื่องของจากอาหาร ไลฟ์สไตล์ หรือแม้แต่พฤติกรรมการทานอาหาร ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องใกล้ตัวที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนในทุกช่วงวัย เราจึงควรสังเกตอาการที่ไม่พึงประสงค์ของตนเองและเข้ารับการตรวจสุขภาพประจำปีอย่างสม่ำเสมอ
.
.
.
#ท้องอืด: คืออาการที่เกิดจากการที่อาหารในกระเพาะหรือลำไส้ถูกหมักหมมจนเกิดแก๊สขึ้นมา ส่งผลให้รู้สึกแน่น อึดอัด จุกเสียด ในบางครั้งอาจมีอาการอยากผายลม ผายลมบ่อย หรือเรอร่วมด้วย
.
.
#กรดไหลย้อน: คือโรคที่เกิดจากระบบย่อยอาหารทำงานผิดปกติจนนำ้ย่อยไหลย้อนกลับขึ้นมาบริเวณหลอดอาหาร ทำให้เกิดอาการแสบร้อนกลางอกและเรอเปรี้ยว ซึ่งอาการท้องอืดเอง ก็เป็นหนึ่งในอาการที่พบได้ในผู้ป่วยกรดไหลย้อนเช่นกัน
.
.
เราจึงจะมาแนะนำวิธีรักษาอาการท้องอืดที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยกรดไหลย้อน ซึ่งสามารถทำได้โดยการ
.
1/
#เคี้ยวช้า ๆ เคี้ยวให้ละเอียด: การเคี้ยวอาหารในปากถือเป็นด่านแรกของกระบวนการย่อยอาหาร หากเคี้ยวให้ละเอียดก่อนกลืนจะสามารถช่วยให้กระเพาะอาหารทำหน้าที่ย่อยได้ง่ายขึ้น
.
2/
#หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกรดหรือแก๊ส: กรดและแก๊สจากอาหารจำพวก นำ้อัดลม แอลกอฮอล์ พืชตระกูลถั่ว จะส่งผลให้อาการท้องอืดยิ่งแย่ลง
.
3/
#รับประทานโพรไบโอติกส์: โพรไบโอติกส์คือแบคทีเรียดีที่จะเข้ามาช่วยย่อยอาหารและฆ่าเชื้อโรค ส่งผลให้ระบบย่อยทำงานได้ดียิ่งขึ้น
.
.
นอกจากนี้ การทานอาหารเสริมโปรตีนและวิตามินก็สามารถช่วยบำรุงทางเดินอาหารให้สามารถฟื้นตัวและกลับมาทำงานได้อย่างปกติเร็วขึ้นเช่นกัน อีกทั้งการออกกำลังกาย พักผ่อนให้เพียงพอ ผ่อนคลายตัวเองจากความเครียด ก็สามารถช่วยให้กระเพาะทำงานได้ดีขึ้นด้วย
.
ปวดท้องตรงกลางบ่อยครั้ง บางครั้งก็มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเสียร่วมด้วย เอ๊ะ…สัญญาณนี้บอกโรคอะไรได้บ้างนะ
อาการปวดท้องแถว ๆ สะดือ หรือปวดท้องตรงกลาง เป็นสัญญาณบอกโรคอะไรได้บ้าง คนที่มีอาการปวดท้องตรงกลางเป็น ๆ หาย ๆ อยู่บ่อยครั้ง ลองเช็กดูค่ะว่าเสี่ยงโรคอะไรไหม โดยเฉพาะหากมีอาการผิดปกติอื่น ๆ ร่วมด้วย มาดูกันว่าอาการปวดท้องตรงกลางเป็นสัญญาณของโรคอะไร
1. โรคกระเพาะอาหาร
หากมีอาการปวดท้องแบบจุก แสบ แน่นบริเวณเหนือสะดือหรือปวดท้องตรงกลางแบบเฉียบพลัน หรืออาจมีอาการปวดท้องแบบเป็น ๆ หาย ๆ โดยเฉพาะในช่วงที่รู้สึกหิว หรือแม้แต่กินอาหารจนอิ่มแล้วก็ยังมีอาการจุก เสียด แน่น มีลม และปวดท้องตรงกลางขึ้นมาอีก นี่อาจเป็นสัญญาณของโรคกระเพาะอาหารได้
2. กรดไหลย้อน
อาการปวดท้องบริเวณใต้ลิ้นปี่อาจเป็นสัญญาณของโรคกรดไหลย้อนได้ด้วยนะคะ และหลายคนก็ยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับโรคกระเพาะกับโรคกรดไหลย้อนอยู่ด้วย เนื่องจากอาการปวดท้องจะคล้าย ๆ กัน เพียงแต่ว่าหากเป็นกรดไหลย้อนมักจะมีอาการแสบร้อนกลางอก และอาการจะเกิดหลังจากรับประทานอาหารอิ่มใหม่ ๆ
3. นิ่วในถุงน้ำดี
นอกจากโรคกระเพาะและโรคกรดไหลย้อนแล้ว อาการปวดท้องบริเวณเหนือสะดือ หรือใต้ลิ้นปี่ยังเกิดจากหลอดอาหารและถุงน้ำดีได้เช่นกัน โดยเฉพาะโรคนิ่วในถุงน้ำดี
4. ลำไส้อักเสบ
หากมีอาการปวดท้องบริเวณรอบ ๆ สะดือ ปวดแบบเป็น ๆ หาย ๆ ตำแหน่งนี้อาจบอกถึงความผิดปกติของลำไส้เล็ก ทำให้เกิดอาการท้องเดิน แต่หากมีอาการปวดบิด ร่วมด้วยท้องเสียมาก ๆ และเหมือนกับว่ามีลมในท้อง นี่ก็มีโอกาสเป็นโรคลำไส้อักเสบได้เหมือนกัน
Cr :gangbeauty
##4 ต้นตอที่คนเป็นกรดไหลย้อนต้องรู้
.
กระเพาะอาหารทำงานไม่ดี
ลำไส้แปรปรวน
มีลมในตัวเยอะ
เครียด
.
คนป่วยโรคกรดไหลย้อนระยะเรื้อรังมานาน
ต้องทรมานกับอาการทุกวัน
จนเกิด…
.
.
.
เกิดจากไม่สามารถรักษาสภาวะกรดที่ควรจะเป็นได้
.
(อาจเกิดจาก อายุที่มากขึ้น
การทำงานก็เสื่อมลง
หรือบางคนทานยาลดกรด
ต่อเนื่อง)
.
ทำให้การย่อยไม่ดี การฆ่าเชื้อโรคในกระเพาะไม่ดี การดูดซึมแร่ธาตุไม่ดี
.หรือกระเพาะเป็นแผล
.
กล้ามเนื้อหูรูดที่ด้านล่าง หลอดอาหารก็เสื่อมเร็วขึ้น ทำให้เกิดภาวะกรดไหลย้อนง่ายขึ้น
.
.
.
หรือมีอาการไม่สบายท้อง ลำไส้อักเสบ บางทีมีอาการท้องผูกสลับท้องเสีย (IBS-Irritable Bowel Syndrome)
.
ส่วนใหญ่เลยจะมีอาการนี้คือ ท้องผูก หรือถ่ายไม่สุดจนเกิดอุจจาระตกค้างในร่างกาย
.
พอปล่อยเรื้อรัง การดูดซึมสารอาหารจะแย่ลงเรื่อยๆ จนหลายคนน้ำหนักลดเป็น 10 กก หรือมากกว่านี้
.
ยิ่งทำให้ลมในร่างกายเยอะขึ้น ก็ยิ่งไม่สบายตัว
.
3. #ลมในร่างกาย
.
ก็จะคอยวิ่งไปทั่วร่างกายไปกดทับกล้ามเนื้อต่างๆ
“ปวดหลังปวดคอ”
“ฉี่บ่อย”
“ปวดหัว” อีก
.
และนำละอองน้ำย่อยวิ่งไปตามหลอดอาหาร
.
ทำให้ “เกิดแผล”
.
เเละทุกๆมื้อเมื่อรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำก็ตาม
.
พออาหารหรือน้ำไปสัมผัสโดนแผลที่ยังอักเสบมากๆอยู่ก็จะทำให้มีอาการ “แสบร้อน”
.
บางทีกระเด็นเข้าไปในหลอดลมเกิดเป็น อาการ “ไอเรื้อรัง” แบบหาสาเหตุไม่ได้
.
.
.
ส่งผลให้เกิดการ…หดเกร็งกล้ามเนื้อทั้งหมดในร่างกาย
.
ก็ทำให้กระบวนการต่างๆแย่ลง รวมถึงกระเพาะหดเกร็ง ไม่ย่อย และลำไส้ลดการบีบตัว
.
และยังทำให้เลือดไหลเวียนไม่ดีจึงทำให้วิงเวียนหัว
.
ถ้าไม่รีบจัดการความเครียดจะรุนแรงจนเป็นแพนิคได้และพบว่าคนที่เป็นกรดไหลย้อนเรื้อรัง มักเป็น #แพนิค
.
.
การจัดการต้นตอกรดไหลย้อนทั้ง 4 เรื่องถือเป็นหัวใจในการดูแลตัวเองให้ดีขึ้นจากโรคสร้างความทรมานนี้